ปลัด กระทรวงแรงงาน เผย การจ้างงานชะลอตัว เฉลี่ยในช่วง 4 ปี ตั้งแต่ 2555-2559 ผลิตผู้จบปริญญาตรีเกินความต้องการปีละ 40,000 กว่าคน รวมกว่า 200,000 คน
นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ ปลัด
กระทรวงแรงงาน เปิดเผยแนวโน้มการตกงานของผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรีในปี
2556 พบว่า การจ้างงานมีแนวโน้มชะลอตัว และการว่างงานมีแนวโน้มลดลง
ขณะที่การประมาณการแนวโน้มการผลิตกำลังคนระดับปริญญาตรี มีการผลิตเกิน เฉลี่ยระหว่างปี 2555-2559 ปีละ 47,256 คน โดยในปี 2555 จำนวน 48,914คน ปี 2556 จำนวน 37,357 คน ปี 2557 จำนวน 33,966 คน ปี 2558 จำนวน 48,125คน และปี 2559 จำนวน67,923 คน ระดับ ปวช.ความต้องการของตลาดแรงงาน เฉลี่ยปีละ 21,750 คน
ส่วนการจ้างงานระดับปริญญาตรีในภาพรวม จากข้อมูลสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากรของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ไตรมาส 3 ปี 2555 อัตราการมีงานทำต่อประชากรหรืออัตราการจ้างงานของประชากรในวัยทำงานอยู่ที่ ร้อยละ 72.46 ของจำนวนประชากรวัยทำงาน ส่วนการจ้างงานระดับอุดมศึกษา(อนุปริญญา ปริญญาตรี โท เอก)อัตราการมีงานทำของผู้จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่อประชากรวัยแรงงานทั้ง หมดอยู่ที่ร้อยละ 12.10 และคิดเป็นอัตราการขยายตัวที่ร้อยละ 0.82 จากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว แสดงให้เห็นว่าแนวโน้มชะลอตัวลงจากไตรมาสที่แล้วอยู่ที่ร้อยละ 5.60
สำหรับอัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 0.63
ระดับอุดมศึกษาอยู่ที่ร้อยละ 0.20
หากเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมา(อยู่ที่ร้อยละ 0.29)
อัตราการว่างงานต่ำกว่า และมีอัตราลดลงอยู่ที่ร้อยละ 3
ขณะที่การประมาณการแนวโน้มการผลิตกำลังคนระดับปริญญาตรี มีการผลิตเกิน เฉลี่ยระหว่างปี 2555-2559 ปีละ 47,256 คน โดยในปี 2555 จำนวน 48,914คน ปี 2556 จำนวน 37,357 คน ปี 2557 จำนวน 33,966 คน ปี 2558 จำนวน 48,125คน และปี 2559 จำนวน67,923 คน ระดับ ปวช.ความต้องการของตลาดแรงงาน เฉลี่ยปีละ 21,750 คน
ส่วนการจ้างงานระดับปริญญาตรีในภาพรวม จากข้อมูลสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากรของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ไตรมาส 3 ปี 2555 อัตราการมีงานทำต่อประชากรหรืออัตราการจ้างงานของประชากรในวัยทำงานอยู่ที่ ร้อยละ 72.46 ของจำนวนประชากรวัยทำงาน ส่วนการจ้างงานระดับอุดมศึกษา(อนุปริญญา ปริญญาตรี โท เอก)อัตราการมีงานทำของผู้จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่อประชากรวัยแรงงานทั้ง หมดอยู่ที่ร้อยละ 12.10 และคิดเป็นอัตราการขยายตัวที่ร้อยละ 0.82 จากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว แสดงให้เห็นว่าแนวโน้มชะลอตัวลงจากไตรมาสที่แล้วอยู่ที่ร้อยละ 5.60
ปลัด กระทรวงแรงงาน เผย การจ้างงานชะลอตัว เฉลี่ยในช่วง 4 ปี ตั้งแต่ 2555-2559 ผลิตผู้จบปริญญาตรีเกินความต้องการปีละ 40,000 กว่าคน รวมกว่า 200,000 คน
นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ ปลัด
กระทรวงแรงงาน เปิดเผยแนวโน้มการตกงานของผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรีในปี
2556 พบว่า การจ้างงานมีแนวโน้มชะลอตัว และการว่างงานมีแนวโน้มลดลง
ขณะที่การประมาณการแนวโน้มการผลิตกำลังคนระดับปริญญาตรี มีการผลิตเกิน เฉลี่ยระหว่างปี 2555-2559 ปีละ 47,256 คน โดยในปี 2555 จำนวน 48,914คน ปี 2556 จำนวน 37,357 คน ปี 2557 จำนวน 33,966 คน ปี 2558 จำนวน 48,125คน และปี 2559 จำนวน67,923 คน ระดับ ปวช.ความต้องการของตลาดแรงงาน เฉลี่ยปีละ 21,750 คน
ส่วนการจ้างงานระดับปริญญาตรีในภาพรวม จากข้อมูลสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากรของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ไตรมาส 3 ปี 2555 อัตราการมีงานทำต่อประชากรหรืออัตราการจ้างงานของประชากรในวัยทำงานอยู่ที่ ร้อยละ 72.46 ของจำนวนประชากรวัยทำงาน ส่วนการจ้างงานระดับอุดมศึกษา(อนุปริญญา ปริญญาตรี โท เอก)อัตราการมีงานทำของผู้จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่อประชากรวัยแรงงานทั้ง หมดอยู่ที่ร้อยละ 12.10 และคิดเป็นอัตราการขยายตัวที่ร้อยละ 0.82 จากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว แสดงให้เห็นว่าแนวโน้มชะลอตัวลงจากไตรมาสที่แล้วอยู่ที่ร้อยละ 5.60
สำหรับอัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 0.63
ระดับอุดมศึกษาอยู่ที่ร้อยละ 0.20
หากเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมา(อยู่ที่ร้อยละ 0.29)
อัตราการว่างงานต่ำกว่า และมีอัตราลดลงอยู่ที่ร้อยละ 3
ขณะที่การประมาณการแนวโน้มการผลิตกำลังคนระดับปริญญาตรี มีการผลิตเกิน เฉลี่ยระหว่างปี 2555-2559 ปีละ 47,256 คน โดยในปี 2555 จำนวน 48,914คน ปี 2556 จำนวน 37,357 คน ปี 2557 จำนวน 33,966 คน ปี 2558 จำนวน 48,125คน และปี 2559 จำนวน67,923 คน ระดับ ปวช.ความต้องการของตลาดแรงงาน เฉลี่ยปีละ 21,750 คน
ส่วนการจ้างงานระดับปริญญาตรีในภาพรวม จากข้อมูลสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากรของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ไตรมาส 3 ปี 2555 อัตราการมีงานทำต่อประชากรหรืออัตราการจ้างงานของประชากรในวัยทำงานอยู่ที่ ร้อยละ 72.46 ของจำนวนประชากรวัยทำงาน ส่วนการจ้างงานระดับอุดมศึกษา(อนุปริญญา ปริญญาตรี โท เอก)อัตราการมีงานทำของผู้จบการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่อประชากรวัยแรงงานทั้ง หมดอยู่ที่ร้อยละ 12.10 และคิดเป็นอัตราการขยายตัวที่ร้อยละ 0.82 จากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้ว แสดงให้เห็นว่าแนวโน้มชะลอตัวลงจากไตรมาสที่แล้วอยู่ที่ร้อยละ 5.60